เวตาล (สันสกฤต: वेताल) เป็นอมนุษย์จำพวกหนึ่ง คล้ายค้างคาวผี ในปรัมปราคติของฮินดู
เวตาลอยู่ในจำพวกมรุตคณะ เป็นบุตรนางอทิติ เป็นผู้ตามพระรุทระเป็นเจ้าแลนางภัทรา
ดำรงอยู่เป็นภูตที่อาศัยในซากศพผู้อื่นในตอนกลางวัน ศพเหล่านี้อาจใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการเดินทาง
เพราะขณะที่เวตาลอาศัยอยู่นั้น ซากศพจะไม่เน่า แต่เวตาลอาจออกจากศพเพื่อหากินในตอนกลางคืน
ไปตามหนอง ตามพุ่มไม้ ตามป่ารกแลป่าที่มืดอับ บางทีไปกับลมพายุแลฟ้ามัว เวลาเที่ยวจะเป็นเวลา
กลางคืนอ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หลักภาษาและการใช้ภาษา
หลักการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในอินเตอร์เน็ต
1.ใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย กล่าวคือ ก่อนนำคำไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบ
ความหมายของคำคำนั้นก่อน เช่น คำว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคำนี้มีความหมายไม่เหมือนกัน
คำว่า “ปอก” เป็นคำกริยา แปลว่า เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก แต่คำว่า “ปลอก” เป็นคำนาม
แปลว่า สิ่งที่ทำสำหรับสวมหรือรัดของต่างๆ เป็นต้น ลองพิจารณอ่านเพิ่มเติม
1.ใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย กล่าวคือ ก่อนนำคำไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบ
ความหมายของคำคำนั้นก่อน เช่น คำว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคำนี้มีความหมายไม่เหมือนกัน
คำว่า “ปอก” เป็นคำกริยา แปลว่า เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก แต่คำว่า “ปลอก” เป็นคำนาม
แปลว่า สิ่งที่ทำสำหรับสวมหรือรัดของต่างๆ เป็นต้น ลองพิจารณอ่านเพิ่มเติม
การฟัง การดู และการพูด
หลักการฟัง
การฟัง คือ การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน
เป็นการรับรู้สารทางหู ในชีวิตประจำวันของเรา
เราใช้เวลานการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง และฟังจากจากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ต่าง ๆ เพราะ
ข่าวสาร ความรู้และศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ที่มนุษย์ถ่ายทอดกันตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน
ยังใช้วิธีการอ่านเพิ่มเติม
เราใช้เวลานการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง และฟังจากจากสื่ออิเล็คทรอนิคส์ต่าง ๆ เพราะ
ข่าวสาร ความรู้และศิลปะวิทยาการต่าง ๆ ที่มนุษย์ถ่ายทอดกันตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน
ยังใช้วิธีการอ่านเพิ่มเติม
การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น
การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ
การแปลความ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 (2525:540)ให้
ความหมายว่า "แปล"ไว้ว่า "ก.ถ่ายความหมายจากภาษาหนึ่ง ทำให้เข้าใจความหมาย"
ชวาล แพรัตกุล(2518:228-229) ได้ให้ความหมายของคำว่า "แปล"ไว้ว่า หมายถึง การ
แปลเจตนา และรู้ความหมายของเรื่องราวนั้น และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วยถ้อย
คำใหม่ สำนวอ่านเพิ่มเติม
ความหมายว่า "แปล"ไว้ว่า "ก.ถ่ายความหมายจากภาษาหนึ่ง ทำให้เข้าใจความหมาย"
ชวาล แพรัตกุล(2518:228-229) ได้ให้ความหมายของคำว่า "แปล"ไว้ว่า หมายถึง การ
แปลเจตนา และรู้ความหมายของเรื่องราวนั้น และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ด้วยถ้อย
คำใหม่ สำนวอ่านเพิ่มเติม
การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคำที่เกี่ยวกับ “สื่อสิ่งพิมพ์” ไว้ดังนี้ คำว่า“สิ่งพิมพ์”
หมายถึงสมุด แผนกระดาษหรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผังภาพ ภาพวาด
ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน
“สิ่งพิมพ์” หมายถึง ข้อความ ข้อเขียน หรือภาพที่เกี่ยวกับแนวความคิด ข้อมูล สารคดีบันเทิง ซึ่งถ่ายทอด
ด้วยการพิมพ์ลงบนกระดาษ ฟิล์ม หรือวัสดุพื้อ่านเพิ่มเติม
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
หลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
การอ่านออกเสียงร้อยแก้วเป็นการอ่านออกเสียงเหมือนเสียงพูดธรรมดา
เพื่อรับสารจากเรื่องที่อ่าน โดยมีหลักการอ่านดังนี้ ๑. ศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจ เพื่อให้ทราบถึงสาระสำคัญของเรื่อง อารมณ์
และความรู้สึกที่ผู้เขียนตั้งใจจะสื่อให้ผู้อ่านทราบ แล้วแบ่งวรรคตอนในการอ่านให้ถูก ต้องว่าตอนใดควรเว้นวรรคน้อย ตอนใดควรเว้นวรรคมาก ๒. ศึกษาหลักการอ่านคำในภาษาไทยให้ถูกต้องตามอักขรวิธี การอ่านคำ ที่นิยมมาจากภาษาต่างประเทศ ต้องอ่านให้ถูกต้องโดยอ่านเพิ่มเติม |
นิราศนรินทร์คำโคลง
ความเป็นมา
นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน
นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย
ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า “นิราศ” หมายถึง
.เรื่องราวที่พรรณนาถึง
การจากกันหรือจากที่อยู่ไปในอ่านเพิ่มเติม
นิทานเวตาล (เรื่องที่ 10)
นิทานเวตาล (เรื่องที่ 10)
ความเป็นมา
นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์
พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ
ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ
โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน
ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวอ่านเพิ่มเติม
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
แนวคิด
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ
เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน
ทั้งความ
และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี
ในทางที่ตะศึกษา
ประเพณีไทยสมัยโบราณ
แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของชาอ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ
เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร)
มีเนื้อหาว่า
ด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
บิดามารดา และครูอาจารย์
โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย
ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำ
แบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมอ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)